Month: November 2013

ประโยชน์ของต้นโคลงเคลง


ชื่อวิทยาศาสตร์ Melastoma villosun Lodd.
ชื่อวงศ์ MELASTOMATACEAE
ลักษณะทั่วไป เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก สูง 1-2 ม.
ใบ ใบเดี่ยว เรียงตรงข้ามเป็นคู่สลับ แผ่นใบรูปขอบขนาน แกมรูปรี ถึงรูปขอบขนานแกมรูปหอก ยาว 7-10 ซม. กว้าง 3-4 ซม. ผิวใบมีเกล็ดเล็กแหลมสั้นๆ ปลายใบแหลมถึงเรียวแหลมโคนใบแหลม เส้นใบ 3 เส้น เด่นออกจากโคนใบไปจรดที่ปลายใบ เส้นใบอื่นไม่เด่นชัด ก้านใบยาว 1-2 ซม. มีเกล็ดเรียบและขนสั้น


ดอก สีชมพูแกมม่วงสด ถ้วยรองดอกมีเกล็ดเล็กเรียวแหลมสีม่วง ค่อนข้างเรียบ เส้นผ่านศูนย์กลางดอก 5 … Read More

แคหางค่าง

(Karen wood)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Fernandoa adenophylla (Wall.ex G.Don) Steenis
ชื่อวงศ์ BIGMONIACEAE
ชื่ออื่น แคขน แคบิด แคพอง แคลาว แคหางอึ่ง แคหัวหมู
ถิ่นกำเนิด เอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ลักษณะทั่วไป ไม้ต้นขนาดกลางกึ่งขนาดใหญ่ สูง 10-15 ม. ขนาดทรงพุ่ม 6-8 ม. ผลัดใบ ทรงพุ่มค่อนข้างกลมทึบ ลำต้นมักคดงอ เปลือกต้นสีเทาหยาบ เป็นสะเก็ดหลุดล่อนเป็นแผ่นๆ และมีช่องระบายอากาศอยู่ทั่วทั้งลำต้น


ใบ ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงเวียนสลับ แกนกลางใบ ประกอบยาว 15-40 ซม.ใบย่อย … Read More

แคแสด

(African Tulip Tree)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Spathodea campanulata P. Beauv.
ชื่อวงศ์ BIGMOMIACEAE
ชื่ออื่น แคแดง
ถิ่นกำเนิด ยูกันดา เขตร้อนของแอฟริกา และเคนยา
ลักษณะทั่วไป ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 8-20 ม. ขนาดทรงพุ่ม 4-6 ม. ไม่ผลัดใบ ทรงพุ่มทรงกระบอก เมื่อต้นเล็ก มีทรงพุ่มค่อนข้างกลม เปลือกต้นสีน้ำตาลเข้ม แตกสะเก็ดหลุดล่อนเป็นแผ่น


ใบ ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงเวียนสลับ แกนกลางใบ ประกอบยาว 30-45 ซม. ใบย่อย 4-9 คู่ … Read More

แคยอดดำ

(Snake tree)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Stereospermum fimbriatum (Wall.ex G. Don) A.DC.
ชื่อวงศ์ BIGMONIACEAE
ชื่ออื่น แคฝอย
ถิ่นกำเนิด พม่าและมาเลเซีย
ลักษณะทั่วไป ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 12-20 ม. ขนาดทรงพุ่ม 4-6 ม. ผลัดใบระยะสั้น ทรงพุ่มแคบ ผอมสูง ค่อนข้าง แน่นโคนต้นเป็นพูพอนขนาดเล็ก เปลือกต้นสีเทาอ่อน เป็นสะเก็ด ตามขวางบางๆ และช่องระบายอากาศอยู่ทั่วทั้งลำต้น


ใบ ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงเวียนสลับ แกนกลางใบ ประกอบยาว 20-30 ซม. ใบย่อย … Read More

ต้นแคฝรั่ง

(Madre de Cacao, Quick Stick)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Gliricidia sepium (Jacq.) Kunth ex Walp.
ชื่อวงศ์ LEGUMIMOSAE – PAPILIONOIDEAE
ถิ่นกำเนิด อเมริกาเขตรอนและแถบทะเลแคริบเบียน
ลักษณะทั่วไป ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 8-15 ม. ขนาดทรงพุ่ม 6-8 ม. ผลัดใบ ทรงพุ่มค่อนข้างกลมโปร่งหรือไม่เป็นระเบียบในระยะ 1-2 ปีแรกปลูก กิ่งอ่อนมีขนและจะหลุดร่วงไปเมื่อกิ่งแก่ เปลือกต้นสีน้ำตาล กะดำกะด่าง แตกเป็นร่องละเอียดตามแนวยาว


ใบ ใบประกอบแบบขนนก ปลายคี่ เรียงสลับ แกนกลางใบประกอบยาว 10-20 … Read More

แคบ้าน

(Agasta, Cork Wood Tree)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Sesbania grandiflora (Desv.) L.
ชื่อวงศ์ LEGUMINOSAE – PAPILLIOMOIDEAE
ชื่ออื่น แค แคขาว แคแดง
ถิ่นกำเนิด เอเชียเขตร้อน และแถบหมู่เกาะอินดีสตะวันตก
ลักษณะทั่วไป ไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง 5-10 ม. ขนาด ทรงพุ่ม 3-5 ม. ไม่ผลัดใบ ทรงพุ่มทรงกระบอกหรือรูปไข่ เปลือกต้น สีน้ำตาลอมเทา แตกเป็นร่องลึกตามแนวยาว เปลือกที่กั้นสลับร่องลึก แตกเป็นกาบหนา มีรูปร่างไม่แน่นอน


ใบ ใบประกอบแบบขนนกปลายคู่ เรียงเวียนสลับแกนกลาง … Read More

แคทะเล


ชื่อวิทยาศาสตร์ Dolichandrone spathacea (L.f.) K.Schum.
ชื่อวงศ์ BIGNONIACEAE
ชื่ออื่น แคนาhe แคนา แคป่า (กลาง), แคตุ้ย แคฝา แคปี่ฮ่อ แคแหนแท้ (เหนือ)
ลักษณะทั่วไป ไม้ต้น สูง 10 ม. ทรงพุ่มทรงสูงหรือแผ่กว้างไม่เป็น ระเบียบ เปลือกสีเทา เรียบถึงแตกเป็นร่องตื้นๆ เปลือกชั้นในสีชมพู
ใบ ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงตรงข้ามกัน ก้านใบยาว 10-30 ซม.ใบย่อย 2-4 คู่ มีขนาดไม่เท่ากันใบรูปไข่รูปใบหอกแกม รูปไข่หรือรูปใบหอกถึงรูปขอบขนานแกมรูปไข่ กว้าง 2.5-7 ซม. … Read More

สมุนไพร:เคี่ยม

(Resak tembage)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Cotylelobium melanoxylon (Hook.f) Pierre
ชื่อวงศ์ DIPTEROCARPACEAE
ชื่ออื่น เคี่ยม (ทั่วไป), เคี่ยมขาว เคี่ยมดำ เคี่ยมแดง (ภาคใต้)
ถิ่นกำเนิด ภาคใต้ของประเทศไทย
ลักษณะทั่วไป ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่สูง 20-40 ม. ทรงพุ่มทึบทรงเจดีย์ตํ่า ลำต้นตรง เปลือกต้นเรียบสีน้ำตาลเข้ม มีรอยด่างสีเทาและเหลืองสลับ มีต่อมระบายอากาศกระจายทั่วไป ตามยอดอ่อนและช่อดอกมีขนสีน้ำตาลปกคลุม
ใบ ใบเดี่ยว รูปไข่ เนื้อใบหนา ปลายใบสอบเรียวหยักเป็นตุ่มยาว โคนใบมนหลังใบเรียบมันผิวใบด้านล่างมีขนสีน้ำตาลปนเหลืองเป็นกระจุก


ดอก ดอกสีขาว ออกเป็นช่อยาวตามปลายกิ่งและง่ามใบ กลิ่น หอมอ่อนๆ กลีบรองดอก … Read More

เข็มทอง


ชื่อวิทยาศาสตร์ Ixora javanice (Blume) DC.
ชื่อวงศ์ RUBIACEAE
ชื่ออื่น เข็มแดง เข็มทอง (ใต้) บือเจาะปูโยะ ยารง (มลายู-นราธิวาส)
ลักษณะทั่วไป ไม้พุ่ม สูง 1.5-5 ม.


ใบ ใบเดี่ยว เรียงตรงกันข้าม แผ่นใบเป็นรูปรีแกมรูปขอบขนาน ถึงรูปขอบแกมรูปไข่กลับ ยาว 7-17 ซม. ผิวใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ปลายใบ แหลมถึงเรียวแหลม โคนใบสอบ เส้นแขนงใบ 6-8 คู่ ก้านใบยาว 0.3-10 ซม. หูใบรูปสามเหลี่ยมฐานกว้าง ปลายเรียวแหลม
ดอก Read More

ขี้เหล็กอเมริกัน

(Amarican cassia, ‘Popcorn bush)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Senna spectabilis (DC.) Irwin & Barneby
ชื่อวงศ์ LEGUMINOSAE – CAESALPIMIOIDEAE
ชื่ออื่น ขี้เหล็กอเมริกา สุวรรณพฤกษ์
ถิ่นกำเนิด อเมริกากลางและอเมริกาใต้
ลักษณะทั่วไป ไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง 5-10 ม. ขนาดทรงพุ่ม 4-6 ม. ผลัดใบ ทรงพุ่มแผ่กว้าง เปลือกต้นสีน้ำตาลเข้ม ค่อนข้างเรียบ หรือแตกเป็นร่องตื้นตามแนวยาว
ใบ ใบประกอบแบบขนนก ปลายคู่ เรียงสลับ แกนกลางใบประกอบ ยาว 25-30 … Read More