Month: December 2013

ตาเบเหลือง

(Golden bell, Silver Trumpet Tree)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Tabebuia argentea Britt.
ชื่อวงศ์ BIGNOMIACEAE
ชื่ออื่น เหลืองปรีดียาธร
ถิ่นกำเนิด ปารากวัย อาร์เจนตินา และบราซิล
ลักษณะทั่วไป ไม้ต้นขนาดเล็ก สูงไม่เกิน 8 ม. ขนาดทรงพุ่ม
3-6 ม. ผลัดใบ ทรงพุ่มรูปไข่หรือรูปร่ม แตกกิ่งก้านเป็นชั้น เปลือกต้น สีน้ำตาล แตกเป็นร่องลึกตามแนวยาวและขรุขระ


ใบ ใบประกอบรูปนิ้วมือ เรียงเวียนสลับ ก้านใบรวมยาว 8-15 ซม. ก้านใบย่อย ยาว 1-5 … Read More

ต้นตังหนเสาใบ


ชื่อวิทยาศาสตร์ Calophyllum calaba L. var.bracteatum (Wight) Stevens
ชื่อวงศ์ GUTTIFERAE
ลักษณะทั่วไป ไม้ต้น สูง 20-40 ม. ทรงพุ่มรูปทรงสูงถึงค่อนข้างกลม ลำต้นกลมเปลาตรง เปลือกต้นสีเทาคล้ำแกมเหลือง แตกเป็นร่องลึก แบบรอยไถเป็นทางยาวๆ เปลือกต้นชั้นในเรียงเป็นชั้นๆ เมื่อมีบาดแผล มียางสีเหลืองอ่อนใส ข้น เหนียวคล้ายนํ้าผึ้ง ซึมออกมาเป็นเม็ดเล็กๆ ยอดอ่อนและช่อดอกมักมีขนสีน้ำตาลสั้นๆ
ใบ แผ่นใบแคบรูปรีถึงรูปไข่แกมรูปขอบขนาน กว้าง 2.5-5 ซม. ยาว 4-13 ซม. ผิวใบเกลี้ยง ปลายใบมนถึงเรียวแหลม โคนใบสอบ ก้านใบยาว 1-1.5 ซม.… Read More

ตะลิงปลิง

(Bilimbi, Cucumber Tree)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Averrhoa bilimbi L.
ชื่อวงศ์ OXALIDACEAE
ชื่ออื่น บลีมิง มะเฟืองเทศ หลิงปลิง
ถิ่นกำเนิด อินโดนีเซียและมาเลเซีย
ลักษณะทั่วไป ไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง 5-10 ม. ขนาดทรงพุ่ม 3-5 ม. กึ่งผลัดใบหรือไม่ผลัดใบ ทรงพุ่มรูปไข่โปร่ง เปลือกต้นสีนํ้าตาลเข้มปนเทา แตกเป็นสะเก็ดละเอียดและมีปุ่มนูน รอบลำต้น


ใบ ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงสลับ แกนกลางใบประกอบยาว 20-60 ซม.ใบย่อย 12-22 คู่ เรียงตรงข้ามใบรูปขอบขนานแกมรูปใบหอก กว้าง 4-6 ซม. … Read More

ตะแบกนา

(Queen’s Flower)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Lagerstroemia floribunda Jack
ชื่อวงศ์ LYTHRACEAE
ชื่ออื่น กระแบก ตะแบก ตะแบกไข่
ถิ่นกำเนิด เอเชียตะวันออกเฉียงใต้


ลักษณะทั่วไป ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 10-25 ม. ขนาดทรงพุ่ม 5-7 ม. ผลัดใบ ทรงพุ่มรูปไข่ โคนต้นเป็นพูพอน เปลือกต้นเทาอ่อนอมขาว ล่อนเป็นแผ่น ทำให้ผิวเปลือกด่างเป็นวง กระจายทั่วไป
ใบ ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปไข่แกมรูปใบหอก กว้าง 5-8 ซม. ยาว 8-20 ซม. ปลายใบมน … Read More

ตะเคียนทอง

(Iron Wood, Sace, Takian)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Hopea odorata Roxb.
ชื่อวงศ์ DIPTEROCARPACEAE
ชื่ออื่น แคน ตะเคียน ตะเคียนใหญ่
ถิ่นกำเนิด ประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ลักษณะทั่วไป ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูง 20-40 ม. ขนาดทรงพุ่ม 10-15 ม. ไม่ผลัดใบ ทรงพุ่มรูปเจดีย์ตํ่า ลำต้นเปลาตรง เปลือกต้นสีน้ำตาลปนดำ แตกร่องลึกตามแนวยาว หรือหลุดล่อนเป็นแผ่น เมื่ออายุมากขึ้น


ใบ ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่แกมรูปใบหอก กว้าง 3-7 ซม. ยาว 8-16 … Read More

ตะขบไทย

(Govnor pulm, Rukum)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Flacourtia cataphraeta Zoll. & Moritzi
ชื่อวงศ์ FLACOURTIACEAE
ชื่ออื่น ครบดง
ถิ่นกำเนิด ประเทศไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้


ลักษณะทั่วไป ไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง 5-12 ม. ขนาดทรงพุ่ม 3-5 ม. ผลัดใบ ทรงพุ่มกลมค่อนข้างโปร่งมีหนามตามกิ่งและลำต้น หนามมีแง่ง เปลือกต้นสีน้ำตาลอมเทา หลุดล่อน เป็นแผ่นบาง
ใบ ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปไข่ หรือรูปไข่แกมรูปขอบขนาน กว้าง 2-6 ซม. ยาว 3-16 ซม. ปลายใบเรียวแหลม … Read More

เดื่อฉิ่ง

(Duea Ching)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Ficus botryocarpa Miq.
ชื่อวงศ์ MORACEAE
ชื่ออื่น จิ้ง จิ้งเขา ฉิ่ง ชิ่งเขา
ถิ่นกำเนิด ตอนใต้ของจีนและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้


ลักษณะทั่วไป ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 5-7 ม. ขนาดทรงพุ่ม 3-5 ม. ไม่ผลัดใบ ทรงพุ่มกลม หรือรูปไข่ เปลือกต้นสีน้ำตาลปนเทา มีรอยด่าง เป็นวงสีขาวอมเทา แตกเป็นร่องตื้นๆ ตามแนวยาวมีปุ่มปมเล็กๆ ซึ่งเป็นจุดกำเนิดตาดอก
ใบ ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับ รูปไข่แกมรูปใบหอก กว้าง 5-15 ซม. ยาว … Read More

ต้นแซะ

(Catecher tree)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Callerya atropurpurea (Wall.) A.M. Schot
ชื่อวงศ์ LEGUMIMOSAE – PAPILIONOIDEAE
ชื่ออื่น กะแซะ กาแซะ ยีนีเก๊ะ พุงหมู
ถิ่นกำเนิด มาเลเซียและภาคใต้ของประเทศไทย
ลักษณะทั่วไป ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูง 15-20 ม. ขนาดทรงพุ่ม 10 – 15 ม. ผลัดใบระยะสั้น ทรงพุ่มค่อนข้างกลม ลำต้นมักแตกกิ่งต่ำ เปลือกต้นสีน้ำตาล แตกเป็นร่องและหลุดล่อนเป็นแผ่นบางๆ


ใบ ใบประกอบแบบขนนก ปลายคี่ เรียงสลับ แกนกลางใบประกอบยาว 20-30 … Read More

การใช้ประโยชน์จากต้นโชน

(Forking Fern)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Dicranopteris lineris (Burm.f.) Underw var. linearis
ชื่อวงศ์ GLEICHENIACEAE
ชื่ออื่น โชนใหญ่ กูดกิน กูดเกี๊ยะ (เชียงใหม่), โชน (ชุมพร), สือลัง (มลายู)
ลักษณะทั่วไป เฟิร์นดินขนาดใหญ่ ขึ้นตามพื้นดิน เหง้าอยู่ใต้ดิน ลึกยาวและเลื้อยไปได้ไกลมีขนละเอียดสีนํ้าตาลอ่อนปกคลุมส่วนที่อยู่ ใต้ดินสีน้ำตาลเกือบดำ ตอนบนสีฟางข้าวมีขนสีนํ้าตาลอ่อนปกคลุม


ใบ ใบแบบขนนกขนาดใหญ่ซ้อนกัน 3-4 ชั้น ปลายใบจะเจริญ ออกไปเรื่อยๆ เนื้อใบบางเกลี้ยง ใบย่อยคู่ล่างสุดใหญ่กว่าคู่อื่นๆ ขอบใบจักเว้าแฉกๆ แฉกอยู่ชิดกัน แฉกที่ปลายใบเล็กหรือเห็นไม่ชัด เส้นกลางใบด้านล่างมีขนตามช่อง กลุ่มอับสปอร์ยาวแคบมักอยู่ที่ปลายเส้นกลางใบใกล้ขอบใบและขอบใบจะม้วนลง… Read More

เชียด

(Cinnamon)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Cinnamomum iners Reinw. ex Blume
ชื่อวงศ์ LAURACEAE
ชื่ออื่น กะเชียด กะพังหัน เคียด มหาปราบตัวผู้ อบเชยต้น
ถิ่นกำเนิด เอเชียตะวันออกเฉียงใต้


ลักษณะทั่วไป ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูง 15-20 ม. ขนาดทรงพุ่ม 6-8ม.ไม่ผลัดใบทรงพุ่มกลมทึบหรือรูปเจดีย์ต่ำ เปลือกต้นสีน้ำตาลอมเทาหรือสีนํ้าตาลอ่อน ค่อนข้างเรียบ หรือแตกเป็นสะเก็ดเล็กบางๆ
ใบ ใบเดี่ยว ตรงข้าม หรือเยื้องกันเล็กน้อย รูปขอบขนาน กว้าง
2.5-7.5 ซม. ยาว 7.5-25 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบมน … Read More