หลาวชะโอน


ชื่อวิทยาศาสตร์ Oncosperma tigillaria (Jack) Ridl.
ชื่อวงศ์ ARECACEAE
ชื่ออื่น ชะโอน นิบง (มลายู-นราธิวาส)
ลักษณะทั่วไป ปาล์มต้นเดี่ยวหรือแตกกอลำต้นขนาด 20-25 ซม. สูงได้ถึง 20 ม. คอยาว 60 ซม. สีเขียวอ่อนมีหนามสีดำที่ลำต้นและคอ


ใบ ใบประกอบแบบขนนกละเอียด กว้าง 50-100 ซม. ยาว 250-400 ซม. โค้งลง ใบย่อยรูปเรียวแคบ สู่ห้อยลง ที่ปลายใบย่อย มีเส้นใยเรียวเล็กยาวใบย่อยอยู่ชิดกันมีจำนวนมาก เรียงเป็นระเบียบ ก้านใบมีหนามแหลมยาว แข็ง สีดำ ยอดเป็นลำแหลมหุ้มด้วยกาบ … Read More

หยีทะเล


ชื่อวิทยาศาสตร์ Derris indica Bennet
ชื่อวงศ์ LEGUMIMOSAE-PAPIUONOIDEAE
ชื่ออื่น กายี (ภาคใต้), ขยี้ (ชุมพร), เพาะดะปากี้ (มลายู-สงขลา), ปารี (มลายู-นราธิวาส) มะปากี (มลายู-ปัตตานี), ราโยด (ปัตตานี), หยีน้ำ (ภาคใต้)
ลักษณะทั่วไป ไม้ต้น สูง 5-15ม.ทรงพุ่มกว้างแผ่เป็นพุ่มลำต้น มักคดงอ แตกกิ่งตา เปลือกเรียบ สีเขียวแกมน้ำตาลถึงน้ำตาลเทาคลํ้า เปลือกชั้นในสีน้ำตาลอ่อนประขาว ผิวเปลือกสีเขียว
ใบ ใบประกอบชั้นเดียว ยาว 10-20 ซม. เฉพาะก้านใบยาว 3-5ซม. เป็นใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงสลับใบย่อย … Read More

หงอนไก่ทะเล


ชื่อวิทยาศาสตร์ Heritiera littoralis Ait.
ชื่อวงศ์ STERCULIACEAE
ชื่ออื่น ไข่ควาย (กระบี่), ดุหุน (ตรัง), หงอนไก่ หงอนไก่ทะเล (ภาคกลาง, สุราษฎร์ธานี)
ลักษณะทั่วไป ไม้ต้น สูง 20 ม. ทรงพุ่มค่อนข้างกลม เปลือกต้น สีน้ำตาลเทา แตกสะเก็ดตามยาว เปลือกต้นชั้นในสีน้ำตาลอมชมพู


ใบ ใบเดี่ยวแผ่นใบรูปไข่หรือรูปขอบขนาน กว้าง 3.5-10 ซม. ยาว10-22 ซม. ปลายใบทู่หรือมนโคนใบกลมมนเบี้ยวบางครั้งสอบแคบ ผิวใบด้านบนเกลี้ยง ผิวใบด้านล่างเป็นคราบขาวประด้วยจุดและสะเก็ดสีน้ำตาลอ่อน เส้นแขนงใบ 7-15 คู่ ก้านใบยาว 1-2 … Read More

แสมทะเล


ชื่อวิทยาศาสตร์ Avicennia marina (Forsk.) Vierh.
ชื่อวงศ์ AVICENNIACEAE
ชื่ออื่น ปีปีดำ (ภูเก็ต), แสมขาว พีพีเล
ลักษณะทั่วไป ไม้ต้นขนาดเล็กเป็นพุ่ม สูง 5-8 ม. ส่วนใหญ่มีสองลำต้น หรือมากกว่า ไม่มีพูพอน ทรงพุ่มโปร่ง มีรากหายใจคล้ายดินสอ ยาว 10-20 ซม. เหนือผิวดิน เปลือกเรียบเป็นมัน สีขาวอมเทา หรือขาวอมชมพู ต้นแก่มากเปลือกจะหลุดออกเป็นเกล็ดบางๆ คล้าย แผ่นกระดาษ และผิวของเปลือกใหม่จะมีสีเขียว


ใบ ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม แผ่นใบรูปรี หรือรูปใบหอกแกมรูปไข่ กว้าง 1.5-4 … Read More

แสมดำ


ชื่อวิทยาศาสตร์ Avicennia officinalis L.
ชื่อวงศ์ AVICEMMIACEAE
ชื่ออื่น อาปี-อาปี (ปัตตานี)
ลักษณะทั่วไป ต้นขนาดกลางถึงใหญ่สูง 20 ม. รากแผ่สานเป็นร่างแห และมีรากหายใจลักษณะคล้ายนิ้วโผล่ยื่นขึ้นมาเหนือดิน ทรงพุ่มหนา แตกกิ่งระดับต่ำไม่มีพูพอน เปลือกต้นเรียบ หรือแตกเป็นร่องเล็กน้อยสีเทา ถึงสีเทาอมน้ำตาลหรือนํ้าตาลอมเขียว


ใบ ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม แผ่นใบรูปรี หรือรูปไข่กลับ ปลายใบกลม โคนใบแหลม ผิวใบด้านบนสีเขียวเข้มเป็นมัน ผิวใบด้านล่างมีขนยาวนุ่ม สีเหลืองอมนํ้าตาล
ดอก สีเหลืองหรือสีเหลืองแกมส้ม ออกดอกที่ปลายกิ่ง หรือง่ามใบ เป็นช่อเชิงลดแน่น มี 7-10 ดอก กลีบเลี้ยง 5 … Read More

แสมขาว


ชื่อวิทยาศาสตร์ Avicennia alba Bl.
ชื่อวงศ์ AVICENNIACEAE
ชื่ออื่น พีพีเล (ตรัง), แหม แหมเล (ใต้)
ลักษณะทั่วไป ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 8-20 ม. ไม่มีพูพอน ลำต้นแตกกิ่ง ระดับต่ำ ทรงพุ่มค่อนข้างกลม เปลือกต้นเรียบ สีเทาถึงดำ มักจะมีสีสนิมเกิดจากพวกเชื้อราติดตามกิ่ง และผิวของลำต้น มีรากหายใจ รูปคล้ายดินสอยาว 15-30 ซม. เหนือผิวดินหนาแน่น บริเวณโคน


ใบ ใบเดี่ยว เรียงตรงข้ามกัน แผ่นใบรูปใบหอก แกมรีหรือรูปขอบขนาน กว้าง 2-5 ซม. ยาว … Read More

สรรพคุณของสีง้ำ


ชื่อวิทยาศาสตร์ Scyphiphora hydrophyllacea Gaertn. f
ชื่อวงศ์ RUBIACEAE
ชื่ออื่น จีง้ำ (กรุงเทพฯ), ซีฮำ (มลายู-ภูเก็ต. สตูล) รังแค (ชุมพร), ซีง้ำ (ตรัง)
ลักษณะทั่วไป ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 1.5-4 ม. เปลือกต้นบาง สีเหลืองถึงเทา
ใบ ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ใบอ่อนมียาง แผ่นใบอ่อนนุ่มคล้ายหนัง รูปไข่แกมรูปขอบขนานหรือรูปไข่กลับ กว้าง 2-5 ซม. ยาว 5-10 ซม. ปลายใบป้านมนหรือกลม ขอบใบเรียบโคนใบแหลม ก้านใบยาว 1-2 … Read More

สำมะง่า

(Garden Quinine)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Clerodendrum inerme (L.) Gaertก.
ชื่อวงศ์ LABIATAE
ชื่ออื่น สำลีงา สำมะลีงา (ภาคตะวันออก), เขี้ยวงู (ภาคตะวันตก) ส้มเนรา สักขรีย่าน สำปันงา (ภาคใต้), สำมะลีงา (ทั่วไป)
ถิ่นกำเนิด อินเดีย
ลักษณะทั่วไป ไม้พุ่มกึ่งเลื้อย สูง 1-3 ม. มีขนนุ่มคลุมส่วนอ่อนๆ ทั้งหมด


ใบ ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรี-หรือรูปไข่ กว้าง 2-4 ซม. ยาว 5-8 ซม. … Read More

สารภีทะเล

(Alexandrian Laurel)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Calophyllum inophyllum L.
ชื่อวงศ์ GUTTIFERAE
ชื่ออื่น กระทิง กากะทิง (ภาคกลาง), ทิง (กระบี่), เนาวกาน (น่าน) สารภีทะเล (ประจวบคีรีขันธ์), สารภีแนน (ภาคเหนือ)
ถิ่นกำเนิด เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไทย มาลายู
ลักษณะทั่วไป เป็นไม้ขนาดกลางถึงใหญ่ สูง 8-20 ม. ไม่ผลัดใบ ลักษณะพิเศษพบว่ามีน้ำยางเหลืองใสๆ เปลือกต้นสีเทาเรียบหรือน้ำตาลปนเหลือง เปลือกในสีชมพูเนื้อไม้สีน้ำตาลปนแดง


ใบ ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม แผ่นใบรูปไข่ รูปรี รูปขอบขนาน หรือรูปไข่กลับ … Read More

เล็บมือนาง


ชื่อวิทยาศาสตร์ Aegiceras corniculatum (L.) Blanco
ชื่อวงศ์ MYRSINACEAE
ชื่ออื่น เล็บนาง (สตูล), แสมแดง (ชุมพร) แสมทะเล (ปัตตานี), ลำพู (ตราด)
ลักษณะทั่วไป ไม้พุ่ม ไม่ผลัดใบ สูง 3-7 ม. แตกกิ่งในระดับต่ำ ใกล้โคนต้น มีพูพอนเล็กน้อย เปลือกต้นเรียบสีเทาเข้มถึงสีน้ำตาลแดง


ใบ ใบเดี่ยว เรียงเวียนรอบกิ่ง หนาแน่นที่ปลายกิ่ง แผ่นใบหนา คล้ายแผ่นหนัง รูปไข่กลับถึงรูปรี กว้าง 2.5-5 ซม. ยาว 4-9 ซม. ปลายใบแหลมถึงเว้าตื้นๆ … Read More