Month: September 2013

พริกขี้หนูสรรพคุณทางยา


ชื่ออื่น ดีปลี (ปัตตานี) ดีปลีขี้นก (ภาคใต้) พริกขี้นก (สุพรรณบุร) ปะแก้ว (นครราชสีมา) พริก (ภาคกลาง, เหนือ) พริกแด้ พริกแต้ พริกนก (ภาคเหนือ) มะระตี้ (สุรินทร์) หมักเพ็ด (อีสาน) ลัวะเจีย (แต้จิ๋ว) ล่าเจียว (จีนกลาง) Bird Chilli
ชื่อวิทยาศาสตร์ Capsicum frutescens L.
(C. minimum Roxb.)
วงศ์ Solanaceae
ลักษณะต้น เป็นไม้พุ่มเล็ก สูง 45-75 ซม. … Read More

พระจันทร์ครึ่งซีกสมุนไพร

ชื่ออื่น บัวครึ่งซีก (ชัยนาท) ปัวปีไน้(แต้จิ๋ว) ป้านเปียนเหลียน (จีนกลาง)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Lobelia chinensis Lour.
(L. radicans Thunb.)
วงศ์ Lobeliaceae
ลักษณะต้น เป็นไม้เล็กคล้ายหญ้า แผ่ไปตามดิน ลำต้นเล็กยาวประมาณ 20 ซม. เมื่อหักลำต้นมียางสีขาวขุ่นเหมือนน้ำนมไหลชุ่มออกมา ลำต้น สีเขียวมีข้อน้อย แต่ละข้อจะมีใบหรือกิ่งออกสลับกัน มีรากฝอยแตกออกตามข้อ ใบเรียวเล็กยาวคล้ายใบหอก ไม่มีก้าน ใบยาว 1-2 ซม. ขอบใบมีรอยหยักแบบฟันเลื่อยห่างๆ ดอกสีม่วงอ่อน เมื่อบานกลีบดอกแยกไปข้างเดียว ทำให้เห็นคล้ายเป็นดอกบัวครึ่งซีก มีเกสรตัวผู้ 5 อัน เกสรตัวเมีย 1 … Read More

ผักปลังแดง


ชื่ออื่น ผักปลัง ผักปั่ง ผักปลังใหญ่ เหลาะขุ้ย (แต้จิ๋ว) ลั่วขุย (จีนกลาง) Ceylon Spinach, Indian Spinach, Malabar Nightshade, East Indian Spinach
ชื่อวิทยาศาสตร์ Basella rubra L.
วงศ์ Basellaceae
ลักษณะต้น เป็นไม้เลื้อย ยาวหลายเมตร แตกกิ่งก้านสาขา ทั้งเถาฉ่ำน้ำ สีม่วงแดง ใบเดี่ยวออกสลับกัน มีก้านใบ ฐานใบกว้าง ปลายใบแหลม ยาว 3-12 ซม. ขอบใบเรียบ เมื่อขยี้ใบจะมีเมือกเหนียว ช่อดอกเกิดตรงซอกใบ ไม่มีก้านดอก … Read More

ผักบุ้งรั้วมีประโยชน์อย่างไร


ชื่ออื่น ผักบุ้งฝรั่ง โหงวเหยียวเล้ง (แต้จิ๋ว) อู่จ่าวหลง (จีนกลาง) Railway Creeper
ชื่อวิทยาศาสตร์ Ipomoea cairica (L.) Sweet
(Convolvulus cairica L.)
(Ipomoea pa/mata Forsk.)
วงศ์ Convolvulaceae
ลักษณะต้น เป็นไม้เลื้อยอายุหลายปี มักมีตุ่มเล็กๆ ที่ลำต้น ใบเดี่ยว ออกสลับกัน ตัวใบแยกเป็นห้าแฉกคล้ายรูปมือ ส่วนยอดแหลมเล็กน้อย ใบกว้าง 6-9 ซม. หลังใบ และท้องใบเกลี้ยง ก้านใบยาวกว่าตัวใบเล็กน้อย ดอกออกเดี่ยวๆ หรือเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 3 ดอก … Read More

ประโยชน์ของผักแขยง


ชื่ออื่น ผักพา (ภาคเหนือ) จุ้ยหู่โย้ง (แต้จิ๋ว) สุ่ยฝูโหยง (จีนกลาง)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Limnophila aromatica (Lam.) Merr.
วงศ์ Scrophulariaceae
ลักษณะต้น เป็นพืชเนื้ออ่อน อายุหลายปี สูง 15-30 ซม. ลำต้นกลมกลวง สีเขียว มีข้อทั้งต้น มีกลิ่นหอม ใบออกตรงกันข้าม และ/หรือมี 3 ใบ ออกรอบข้อ ไม่มีก้านใบ ตัวใบเรียวยาวคล้ายรูปหอก ยาว 1.5-4 ซม. ฐานใบห่อลำต้น ขอบใบหยักแบบฟันเลื่อย หลังใบมีต่อมเล็กๆ ดอกเดี่ยว เกิดตรงซอกใบ และมีดอกเป็นช่อตรงยอด … Read More

ผักกะโฉมมีสรรพคุณดังนี้


ชื่ออื่น ผักกะโสม (ภาคกลาง) อ้มกบ (เชียงใหม่) จุ้ยห่วยเฮียง (แต้จิ๋ว) สุ่ยหุยเซียง (จีนกลาง)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Limnophila rugosa (Roth.) Merr.
(Herpestis rugosa Roth.)
(Limnophila roxburghii G. Don.)
วงศ์ Scrophulariaceae
ลักษณะต้น เป็นไม้ล้มลุก อายุปีเดียว มีกลิ่นหอม ลำต้นแตกแขนง สูง 30-60 ซม. ต้นอ่อนมีขนปกคลุม พอแก่ขนจะร่วงหมด ใบเดี่ยวออกตรง กันข้าม ใบรียาว 4-8 ซม. กว้าง 2-3 … Read More

ปอบิดมีสรรพคุณอย่างไร


ชื่ออื่น บิด มะปิด (พายัพ) ปอทับ ปอปิด ปอลิงไซ (ภาคเหนือ) ลูกบิด (ภาคกลาง) ช้อ (กะเหรี่ยง-เชียงใหม่) ห้วยเสาะมั้ว (แต้จิ๋ว) หั่วสั่วหมา (จีนกลาง) East Indian Screw Tree
ชื่อวิทยาศาสตร์ Helicteres isora L.
วงศ์ Sterculiaceae
ลักษณะต้น เป็นไม้พุ่มขนาด 2-3 เมตร ใบยาว 10-20 ซม. กว้าง 7-9 ซม. ฐานใบเว้าไม่เท่ากัน ขอบใบหยักแบบฟันเลื่อย ใบทั้งสองด้านมีขน อ่อนปกคลุม … Read More

ข้อมูลของนางแย้ม


ชื่ออื่น ปิ้งชะมด ปิ้งซ้อน (ภาคเหนือ) ปิ้งสมุทร (เชียงใหม่) ส้วนใหญ่ (นครราชสีมา) เช่าหมกหลี (แต้จิ๋ว) โช่วมู่ลี่ (จีนกลาง)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Clerodendron fragrans Vent.
(Volkameria fragrans Vent.)
วงศ์ Verbenaceae
ลักษณะต้น เป็นไม้พุ่ม สูง 1-2 เมตร ลำต้นตรง ทั้งต้นมีขนปกคลุมเล็กน้อย ใบยาว 11-15 ซม. ใบกว้างรูปไข่เกือบเป็นรูปหัวใจ ขอบใบมีรอยหยักแบบฟันเลื่อยห่างๆ เมื่อขยี้ใบจะมีกลิ่นเหม็น ก้านใบยาว ช่อดอกเกิดที่ยอดกิ่ง ดอกอยู่เป็นกระจุกแน่น ดอกบนบานก่อน เส้นผ่าศูนย์กลางช่อดอก 6-10 … Read More

ทานตะวันมีประโยชน์อย่างไร


ชื่ออื่น ชอนตะวัน (ภาคกลาง) บัวทอง (ภาคเหนือ)    เหี่ยงหยิกขุ้ย (แต้จิ๋ว) เซี่ยงยื้อขุย (จีนกลาง) Sunflower
ชื่อวิทยาศาสตร์ Helianthus annuus L.
วงศ์ Compositae
ลักษณะต้น เป็นพืชอายุปีเดียว ลำต้นตรง เจริญเต็มที่สูงถึง 3.5 เมตร ใบกลมรีออกสลับกัน ยาว 10-30 ซม. กว้าง 8-25 ซม. ปลายใบแหลม หรือแหลมมน ขอบใบหยักแบบฟันเลื่อย ฐานใบเว้าเป็นรูปหัวใจ ช่อดอกขนาดใหญ่มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 15-30 ซม. ประกอบด้วยดอกเล็กเรียงเป็นวงซ้อนกันมากกว่า 2-3 ชั้น ตรงกลางเป็นกลุ่มของดอกสมบูรณ์เพศ … Read More

ปฏิกริยาของดิน (Soil Reaction) ความเป็นกรดเป็นด่างของดิน (pH)

ปฏิกริยาของดิน (Soil Reaction) หมายถึง ความเป็นกรดเป็นด่างของดิน ใช้หน่วยวัดเป็น pH (พี.เอช.)

เมื่อการเจริญเติบโตของพืชในไร่ไม่เป็นไปตามปกติ เช่นมีสีเหลืองซีด ต้นแคระแกร็น คำถามที่สำคัญข้อหนึ่ง ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ในทางดินมักจะถามเป็นข้อแรก คือ “ดินมี pH เท่าไร” เพราะเหตุว่า pH มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงรูปของธาตุอาหารพืช และยังมีอิทธิพลโดยตรงต่อการเจริญเติบโตของพืชด้วย

 

pH คืออะไร(What is pH)

pH คือความเป็นกรดหรือด่างของสารละลาย หรือส่วนผสมของน้ำกับดิน วัดจากปริมาณไฮโดรเจนไอออน (H+) และไฮดรอกซีลไอออน (OH-) ซึ่งแตกตัว หรือ ionize เป็นรูปไอออนน้ำเมื่อแตกตัวออกก็จะให้ H+ กับ OH- … Read More